
ขายฝาก vs จำนอง มีความต่างกันอย่างไร
ขายฝาก vs จำนอง มีความต่างกันอย่างไร เมื่อได้เอ่ยถึงการนำทรัพย์สินประเภทอสังหาริมทรัพย์ ไปเป็นหลักทรัพย์เพื่อแลกกับเงินก้อน โดยคนส่วนใหญ่มักเข้าใจว่าเป็นการทำนิติกรรมในรูปแบบของการจำนอง และก็มีเข้าใจว่าเป็นรูปแบบของการขายฝาก ทั้ง 2 รูปแบบมีความคลายกันและแตกต่างกันอย่างไร ตามมาดูคำตอบกันได้ที่กฏหมายภาษีกันได้เลย
ขายฝากคืออะไร

เป็นการทำนิติกรรมในรูปแบบของการขาย ทั้งที่เป็นทรัพย์สิน ประเภทอสังหาริมทรัพย์ เช่น บ้าน คอนโด ที่ดิน หรือทรัพย์สินประเภท สังหาริมทรัพย์ เช่น รถยนต์ เป็นต้น ให้กับผู้รับซื้อฝาก โดยการทำสัญญาเอกสารขายฝากที่ดิน และมีข้อตกลงกันว่าผู้ฝากสามารถไถ่คืนได้ตามเงื่อนไขและระยะเวลาที่ตกลงกัน ซึ่งกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ขายฝากจะตกเป็นของผู้รับซื้อฝากทันทีที่ขายฝาก และได้ส่งมอบทรัพย์สินแก่ผู้รับซื้อฝาก
จำนองคืออะไร

เป็นการทำนิติกรรมอีกรูปแบบหนึ่ง ในลักษณะของการนำทรัพย์สินมาเป็นประกันการชำระหนี้ โดยทรัพย์สินที่สามารถนำมาจำนองเป็นได้ทั้งประเภทอสังหาริมทรัพย์ เช่น บ้าน คอนโด ที่ดิน หรือประเภทสังหาริมทรัพย์ที่มีทะเบียน เฉพาะที่กฎหมายกำหนดให้นำมาจำนองได้ เช่น รถยนต์ หรือเครื่องจักร เป็นต้น
ข้อแตกต่างระหว่างขายฝาก VS จำนอง
ขายฝาก | จำนอง |
ต้องส่งมอบทรัพย์สินและกรรมสิทธิ์ในให้ผู้รับซื้อฝาก ดังนั้นผู้ฝากไม่สามารถใช้ประโยชน์ในทรัพย์สินต่อไป ทั้ง คอนโด ที่ดิน หรือ รถยนต์ จนกว่าจะมีการไถ่ที่ขายฝากคืน | ไม่ต้องส่งมอบทรัพย์สินและกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินให้ผู้รับจำ ดังนั้นผู้จำนองจึงยังมีสิทธิใช้ประโยชน์ ทั้ง คอนโด ที่ดิน หรือ รถยนต์ |
ผู้ฝากมีสิทธิไถ่คืนตามเงื่อนไขและระยะเวลาที่กำหนดในสัญญาขายฝาก- เมื่อผู้ฝากไม่มาไถ่ทรัพย์สินคืนตามเงื่อนไขและระยะเวลาที่กำหนด ผู้ขายฝากเพียงหมดสิทธิไถ่คืนต่อไป โดยไม่ต้องชำระเงินเพิ่มเติมให้ผู้รับซื้อฝากอีก | ตามกฎหมายไม่ได้กำหนดระยะเวลาสูงสุดของการจำไว้การจำจะสิ้นสุดลง เมื่อหนี้ที่มีการจำนองเป็นประกันสิ้นสุดลง หรือการจำสิ้นสุดลงด้วยเหตุอื่น ๆ ตามที่กฎหมายกำหนดเมื่อผู้จำได้นำทรัพย์สินมาจำนองเพื่อประกันหนี้ของตนเอง และมีข้อตกลงว่าจะชำระหนี้จนครบถ้วน หากบังคับจำแล้วได้เงินไม่เพียงพอ ผู้จำยังมีหน้าที่ต้องชำระเงินเพิ่มเติมให้ผู้รับจำจนกว่าจะครบถ้วน |
การฝากส่วนใหญ่ผู้ฝากจะได้วงเงินประมาณ 40 – 70% ของราคาประเมิน | การจำนองส่วนใหญ่ ผู้จำจะได้วงเงินประมาณ 10 – 30% ของราคาประเมิน |
ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนขายฝากในอัตรา 2% ของราคาประเมินค่าภาษีธุรกิจเฉพาะค่าภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย คำนวณจากราคาประเมิน ตามอัตราที่กรมสรรพากรกำหนด | ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนจำนอง ในอัตรา 1% จากวงเงินจำสูงสุดไม่เกิน 200,000 บาทค่าอากรแสตมป์ กรณีการจำเพื่อเป็นประกันการกู้ยืมเงิน หรือการตกลงให้เบิกเงินเกินบัญชีจากธนาคาร ตราสารกู้ยืมเงิน หรือการตกลงให้เบิกเงินเกินบัญชีจากธนาคารทุกจำนวนเงิน 2,000 บาท หรือเศษของ 2,000 บาท เสียค่าอากรแสตมป์ 1 บาท แต่ไม่เกิน 10,000 บาท |
สนับสนุนโดย : ล็อตโต้สด888 เว็บแทงหวยและคาสิโนออนไลน์ที่ดีที่สุดของปี 2023